ระบบไฮดรอลิคและระบบนิวเมติกส์มีความแตกต่างกันอย่างไร

       สำหรับระบบไฮดรอลิค กับ ระบบนิวเมติกส์ นั้นถือว่าเป็นระบบที่มีความสำคัญในการขับเคลื่อนวงการอุตสาหกรรมเกือบแทบจะทุกประเภท เนื่องจากกระบวนการผลิตสินค้าจะเป็นจะต้องมีการเคลื่อนไหวและใช้แรงงานการจับ ขึ้นรูปหรือบีบอัดสินค้าเป็นประจำ ซึ่งแน่นอนว่าการทำงานของทั้งสองระบบนั้นจะใช้เทคโนโลยีของไหลแบบเดียวกันเพื่อสร้างกำลังหรือแรง แต่ตัวกลางที่ใช้แปลงพลังงานกลจะแตกต่างกัน โดยระบบไฮดรอลิคจะใช้ของเหลวที่มีแรงดัน เช่น น้ำมันปิโตรเลียม น้ำมันเครื่องสังเคราะห์ และน้ำ ส่วนระบบนิวเมติกส์ จะใช้ก๊าซหรืออากาศอัดเป็นตัวกลางในการแปรพลังงาน ดังนั้นถ้าจะอธิบายให้เข้าใจโดยง่าย คือ ระบบนิวเมติกส์ใช้อากาศเป็นตัวกลาง ส่วนระบบไฮดรอลิกใช้ของเหลวเป็นตัวกลาง ซึ่งตัวกลางที่แปลงพลังงานของไหลเป็นพลังงานกลทำให้สองระบบนี้แตกต่างกันนั้นเอง

 

ศูนย์รวมอุปกรณ์ไฮดรอลิค

 

 

ระบบไฮดรอลิคและระบบนิวเมติกส์มีความแตกต่างกัน ดังนี้


1. ระบบไฮดรอลิคเป็นระบบปิด ส่วนระบบนิวเมติกส์เป็นระบบเปิด
2. ระบบไฮดรอลิคจะใช้แรงดันประมาณ 500 ถึง 5000psi ส่วนระบบนิวเมติกส์จะใช้แรงดันประมาณ 100 ถึง100psi
3. ระบบไฮดรอลิคสามารถหล่อลื่นตัวเองได้ เพราะว่าใช้น้ำมันหลายชนิดในการทำขับเคลื่อน ส่วนระบบนิวเมติกส์จะต้องไท่สามารถหล่อลื่นตัวเองได้ ต้องมีการจัดเตรียมแยกไว้ต่างหาก
4. ปั๊ม วาล์ว ข้อต่อ สายไฮดรอลิค อุปกรณ์ไฮดรอลิคที่ใช้ในระบบไฮดรอลิค สำหรับการจัดเก็บและสูบของเหลวทำให้ระบบมีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้น ดังนั้น ส่วนประกอบที่มีขนาดใหญ่จึงต้องการแรงดันที่มากขึ้น และทำให้ระบบไฮดรอลิคมีราคาสูงขึ้น การบำรุงรักษาและการซ่อมแซมระบบไฮดรอลิคนั้นซับซ้อนกว่าระบบนิวเมติกส์ ระบบนิวเมติกส์นั้นเรียบง่าย ราคาถูก และประหยัดกว่าค่ะ
5. มอเตอร์ระบบไฮดรอลิคสามารถสตาร์ทมอเตอร์ภายใต้แรงดันสูงได้ นอกจากนี้ ระบบไฮดรอลิคสามารถทำงานช้า แม่นยำ และให้การเคลื่อนที่เชิงเส้น สำหรับระบบนิวเมติกส์ การทำงานที่ช้าเกินไปจะทำให้เกิดการกระตุก
6. ถ้าเกิดการรั่วของระบบไฮดรอลิคจะทำให้สภาพแวดล้อมการทำงานเลอะเทอะ นอกจากนี้การรั่วไหลของของเหลวที่มีแรงดันยังเป็นอันตรายต่อทั้งคนงานและเครื่องจักร ฉะนั้นในระบบไฮดรอลิค การรั่วจะทำให้ประสิทธิภาพของระบบช้าลง แต่ระบบนิวเมติกส์จะได้รับผลกระทบจากการรั่วซึม
7. น้ำมันไฮดรอลิกบางชนิดเป็นน้ำมันปิโตรเลียม ฉะนั้นในระบบไฮดรอลิก มีความเสี่ยงที่จะเกิดไฟไหม้ แต่ระบบนิวคเมติกส์ไม่มีอันตรายจากไฟไหม้
8. การทำงานของวาล์วของระบบนิวเมติกส์นั้นง่ายกว่าระบบไฮดรอลิค
9. เครื่องอัดอากาศเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของระบบนิวเมติกส์

 

ผลิตและจำหน่ายสายไฮดรอลิค


       อย่างไรก็ตามจะเห็นได้ว่าในปัจจุบันนี้ระบบไฮดรอลิคและระบบนิวเมติกส์เป็นระบบที่มีความสำคัญอย่างมากกับอุตสาหกรรมต่างๆ ดังนั้นหากทุกท่านมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับส่วนประกอบของระบบไฮดรอลิคก็จะทำให้สามารถเข้าใจการทำงานของระบบไฮดรอลิคได้ และใช้งานจากระบบไฮดรอลิคได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่ง บริษัท เค แอนด์ พี ไฮดรอลิค จำกัด ผู้นำด้านอุปกรณ์ไฮดรอลิคอย่างครบวงจร ที่ได้รับการยอมรับมากกว่า 20 ปี ให้บริการจำหน่ายอุปกรณ์ไฮดรอลิค สายไฮดรอลิค  สายอุตสาหกรรม สายท่ออ่อนสแตนเลส สายถักสแตนเลส ข้อต่อลม ข้อต่อสายไฮดรอลิค หัวสายไฮดรอลิค สายใสอุตสาหกรรม สายถักสแตนเลส ท่ออ่อนสแตนเลส ข้อต่อ สายเพาเวอร์ กระบอกลม และอุปกรณ์อื่นๆอีกมากมาย พร้อมรับประกันคุณภาพทุกชิ้นงาน ด้วยทีมงานผู้เชี่ยวชาญด้านอุปกรณ์ไฮดรอลิคโดยเฉพาะ
---------------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
• ระบบไฮดรอลิคสำคัญอย่างไร 
• สายไฮดรอลิค อุปกรณ์ขับเคลื่อนของเหลวในระบบไฮดรอลิค  
• มาทำความรู้จักกับประเภทของข้อต่อสวมเร็ว  

ฮีทปั๊ม คืออะไร

ฮีทปั๊ม


        à¸›à¸±à¹Šà¸¡à¸„วามร้อน à¸™à¸´à¸¢à¸¡à¹€à¸£à¸µà¸¢à¸à¸à¸±à¸™à¸­à¸µà¸à¸­à¸¢à¹ˆà¸²à¸‡à¸§à¹ˆà¸² "ฮีทปั๊ม : Heat Pump" à¸„ือ เครื่องจักรที่ใช้ผลิตน้ำร้อนให้กับอุตสาหกรรมหลากหลายประเภท  à¹€à¸Šà¹ˆà¸™ โรงแรม โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม ร้านอาหาร เป็นต้น โดยน้ำร้อนที่ใช้จะอยู่ในช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสมและสามารถฆ่าเชื้อโรคได้ ซึ่งฮีทปั๊ม หรือ ปั๊มความร้อน เป็นอุปกรณ์ทำความร้อนที่ใช้ Compressor แบบเดียวกับเครื่องปรับอากาศ โดยการดึงความร้อนจากอากาศภายนอกที่อุณหภูมิปกติ ถ่ายเทความร้อนให้แก่น้ำหรือลมร้อน ส่วนความเย็นที่ได้สามารถนำไปใช้ร่วมในการปรับอากาศได้

 

ข้อดีของปั๊มความร้อน (ฮีทปั๊ม : Heat pump)


        1. à¸Šà¹ˆà¸§à¸¢à¸¥à¸”ต้นทุนให้ผู้ประกอบการ ในด้านการผลิตน้ำร้อนให้กับธุรกิจของตน
        2. à¸Šà¹ˆà¸§à¸¢à¸›à¸£à¸°à¸«à¸¢à¸±à¸”พลังงานไฟฟ้าได้ดี ใช้ไฟน้อยกว่าวิธีทำน้ำร้อนด้วยฮีทเตอร์ไฟฟ้า 
        3. à¹€à¸›à¹‡à¸™à¸¡à¸´à¸•à¸£à¸à¸±à¸šà¸ªà¸´à¹ˆà¸‡à¹à¸§à¸”ล้อม เพราะเป็นพลังงานสะอาด ไม่ทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจก 
        4. à¸›à¸¥à¸­à¸”ภัยจากไฟฟ้ารั่วและช็อตในขณะใช้น้ำร้อน เนื่องจากผู้ใช้น้ำร้อนไม่ได้สัมผัสกับเครื่องใช้ไฟฟ้าโดยตรง
        5. à¸ªà¸²à¸¡à¸²à¸£à¸–นำลมเย็นที่ได้เป็นผลพลอยได้ ไปต่อท่อลมเพื่อนำลมเย็นไปใช้ตามตึกหรืออาคารต่างๆ

 

ข้อเสียของปั๊มความร้อน (ฮีทปั๊ม : Heat pump)


        1. à¸à¸²à¸£à¸•à¸´à¸”ตั้งฮีทปั๊มและการดูแลรักษาซ่อมบำรุงจำเป็นต้องปรึกษาผู้ที่มีความเชี่ยวชาญดำเนินการให้เพื่อที่จะใช้งานปั๊มความร้อนอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพสูงสุดในการผลิต
        2. à¸•à¹‰à¸­à¸‡à¸¡à¸µà¸à¸²à¸£à¸„ำนึงถึงการระบายอากาศของสถานที่ติดตั้งนั่นสามารถทำได้หรือไม่

 

ระบบฮีทปั๊มจะประกอบด้วยอุปกรณ์หลักดังนี้


        1. ชุดคอยล์ร้อน (Condenser) ทำหน้าที่ระบายความร้อนสารทำความเย็น
        2. ชุดคอยล์เย็น (Evaporator) ทำหน้าที่ระบายความเย็นสารทำความเย็น
        3. เครื่องอัดไอ (Compressor) ทำหน้าที่เพิ่มแรงดันสารทำความเย็น
        4. วาล์วขยายตัว (Expansion Valve) ทำหน้าที่ลดแรงดันสารทำความเย็น     

 

 

 

"เทมป์เมกเกอร์ ตั้งใจบริการทุกงานเครื่องแลกเปลี่ยน"
Temp Maker All Solutions Of Heat Exchanger

 

เทมป์เมกเกอร์


สินค้าและบริการของ บริษัท เทมป์เมกเกอร์ จํากัด 

- อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน-ความเย็นชนิดแผ่นเพลทมีปะเก็น
- ฮีทปั๊ม (ปั๊มความร้อน)
- อุปกรณ์ทำน้ำในท่อให้แข็ง
- อุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ควบคุม
- แผ่นแลกเปลี่ยนความร้อนมีลเลอร์
- แผ่นแลกเปลี่ยนความร้อน คาโอริ
- แผ่นอุณหภูมิมีลเลอร์
- อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนไทเทเนี่ยม
- เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่น ฟาลลิ่งฟิมล์ชิลเลอร์
- แอร์คูลลิ่งชิลเลอร์
- ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า
- ตู้น้ำเย็น ตู้แช่
- บริการซ่อมระบบทำความเย็น
- งานล้างทำความสะอาดและเปลี่ยนปะเก็นตัวแลกเปลี่ยนความร้อน-ความเย็นชนิดแผ่นเพลท
- งานตรวจสอบระบบการทำงานของชิลเลอร์
- บริการทำความสะอาดคูลลิ่งทาวเวอร์และคูลลิ่งไลน์ไปป์
- งานบริการติดตั้งเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน


------------------------------------------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
รับซ่อมระบบทำความเย็นและแนะนำวิธีดูแลรักษาความปลอดของระบบทำความเย็น
• à¹€à¸„รื่องแลกเปลี่ยนความร้อน นิยมใช้ในอุตสาหกรรมประเภทใดบ้าง
เทมป์เมกเกอร์ ศูนย์รวมฮีทปั๊มและเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนอุตสาหกรรมทุกชนิด 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15